วันอาทิตย์ที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2555

8.ข้อตกลงเบื้องต้น (Assumption)

              ธีรวุฒิ  เอกะกุล(2549 : 101) ได้กล่าวไว้ว่า  ข้อตกลงเบื้องต้นเป็นข้อตกลงหรือตัวแปรที่ผู้วิจัยไม่สามารถจะควบคุมได้ การวิจัยบางเรื่องอาจมีข้อจำกัดหลายอย่างในทางปฏิบัติ ต้องตั้งข้อสมมุติบางอย่างเป็นข้อตกลงเบื้องต้น เสมือนเป็นการกำหนด Scope ในการวิจัย เช่น
1. การทำข้อสอบทุกข้อผู้ตอบตอบตามความสามารถปราศจากการเดา
2. ผู้สอนปราศจากอคติในการสอนนักเรียนทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม

          http://www.learners.in.th/blogs/posts/450209   ได้กล่าวไว้ว่า การวิจัยบางเรื่องอาจมีข้อจำกัดหลายอย่างในทางปฏิบัติ ต้องตั้งข้อสมมุติบางอย่างเป็นข้อตกลงเบื้องต้น เสมือนเป็นการกำหนด scope ในการวิจัย เช่น กำหนดข้อตกลงเบื้องต้นว่า คนงานที่มาทำงานในวันที่ผู้วิจัยเข้าไปสำรวจ ไม่ต่างจากคนงานที่มาทำงานในวันปกติอื่นๆ ผู้วิจัยต้องระวังอย่าให้ข้อตกลงเบื้องต้นเป็นตัวทำลายความถูกต้องของงาน วิจัย


          http://www.gotoknow.org/posts/452402?  ได้กล่าวไว้ว่า  การวิจัยบางเรื่องอาจมีข้อจำกัดหลายอย่างในทางปฏิบัติ ต้องตั้งข้อสมมุติบางอย่างเป็นข้อตกลงเบื้องต้น เสมือนเป็นการกำหนด scope ในการวิจัย เช่น กำหนดข้อตกลงเบื้องต้นว่า คนงานที่มาทำงานในวันที่ผู้วิจัยเข้าไปสำรวจ ไม่ต่างจากคนงานที่มาทำงานในวันปกติอื่นๆ ผู้วิจัยต้องระวังอย่าให้ข้อตกลงเบื้องต้นเป็นตัวทำลายความถูกต้องของงานวิจัย
  
สรุป
                ข้อตกลงเบื้องต้นเป็นข้อตกลงหรือตัวแปรที่ผู้วิจัยไม่สามารถจะควบคุมได้ การวิจัยบางเรื่องอาจมีข้อจำกัดหลายอย่างในทางปฏิบัติต้องตั้งข้อสมมุติบางอย่างเป็นข้อตกลงเบื้องต้น เสมือนเป็นการกำหนด Scope ในการวิจัย

ที่มา :     ธีรวุฒิ  เอกะกุล . (2549).  ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ .
                พิมพ์ครั้งที่ 4 .อุบลราชธานี : วิทยาออฟเซท.
 http://www.learners.in.th/blogs/posts/45020.[ออนไลน์] เข้าถึงเมื่อ 2 ธันวาคม  2555
http://www.gotoknow.org/posts/452402?.[ออนไลน์]
                เข้าถึงเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2555.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น