http://blog.eduzones.com/jipatar/85921 ได้กล่าวไว้ว่า การกำหนดงบประมาณค่าใช้จ่ายเพื่อการวิจัย ควรบ่างเป็นหมวดๆ ว่าแต่ละหมวดจะใช้งบประมาณเท่าใด การแบ่งหมวดค่าใช้จ่ายทำได้หลายวิธี ตัวอย่างหนึ่งของการแบ่งหมวด คือ แบ่งเป็น 8 หมวดใหญ่ๆ ได้แก่
12.1 เงินเดือนและค่าตอบแทนบุคลากร
12.2 ค่าใช้จ่ายสำหรับงานสนาม
12.3 ค่าใช้จ่ายสำนักงาน
12.4 ค่าครุภัณฑ์
12.5 ค่าประมวลผลข้อมูล
12.6 ค่าพิมพ์รายงาน
12.7 ค่าจัดประชุมวิชาการ เพื่อปรึกษาเรื่องการดำเนินงาน หรือเพื่อเสนอผลงานวิจัยเมื่อจบ
โครงการแล้ว
12.8 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
อย่างไรก็ตาม แหล่งทุนสนับสนุนการวิจัยแต่ละแห่งอาจกำหนดรายละเอียดของการเขียนงบประมาณ แตกต่างกันผู้ที่จะขอทุนวิจัยจึงควรศึกษาวิธีการเขียนงบประมาณของแหล่งทุนที่ตนต้องการ ขอทุนสนับสนุน และควรทราบถึงยอดเงินงบประมาณสูงสุดต่อโครงการที่แหล่งทุนนั้นๆ จะให้การสนับสนุนด้วย เนื่องจากถ้าผู้วิจัยตั้งงบประมาณไว้สูงเกินไป โอกาสที่จะได้รับการสนับสนุนก็จะมีน้อยมาก
12.1 เงินเดือนและค่าตอบแทนบุคลากร
12.2 ค่าใช้จ่ายสำหรับงานสนาม
12.3 ค่าใช้จ่ายสำนักงาน
12.4 ค่าครุภัณฑ์
12.5 ค่าประมวลผลข้อมูล
12.6 ค่าพิมพ์รายงาน
12.7 ค่าจัดประชุมวิชาการ เพื่อปรึกษาเรื่องการดำเนินงาน หรือเพื่อเสนอผลงานวิจัยเมื่อจบ
โครงการแล้ว
12.8 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
อย่างไรก็ตาม แหล่งทุนสนับสนุนการวิจัยแต่ละแห่งอาจกำหนดรายละเอียดของการเขียนงบประมาณ แตกต่างกันผู้ที่จะขอทุนวิจัยจึงควรศึกษาวิธีการเขียนงบประมาณของแหล่งทุนที่ตนต้องการ ขอทุนสนับสนุน และควรทราบถึงยอดเงินงบประมาณสูงสุดต่อโครงการที่แหล่งทุนนั้นๆ จะให้การสนับสนุนด้วย เนื่องจากถ้าผู้วิจัยตั้งงบประมาณไว้สูงเกินไป โอกาสที่จะได้รับการสนับสนุนก็จะมีน้อยมาก
www.vrdp.net/data/Download/6-8-53/10.pdf ได้กล่าวไว้ว่า การดำเนินการวิจัย จำเป็นต้องมีปัจจัยในการดำเนินการเช่นเดียวกับการดำเนินการกิจกรรมอื่นๆ ประกอบด้วย ผู้ดำเนินการคือ คน(Man) การดำเนินการ(Management) วัสดุอุปกรณ์ (Materials) และเงิน (Money) การเขียนงบประมาณทีใช้ดำเนินการวิจัย จำเป็นต้องระบุแหล่ง เงินทุนอุดหนุนการวิจัย
http://e-book.ram.edu/e-book/m/MR393/chapter9.pdf ได้กล่าวไว้ว่า ผู้ทำวิจัยที่จะของบประมาณหรือขอทุนอุดหนุนการวิจัยต้องเขียนรายละเอียดการของบประมาณตามรูปแบบของหน่วยงานที่จะขอ บางหน่วยงานกำหนดให้เขียนแยกเป็นหมวดๆเช่น หมวดค่าใช้สอย หมวดค่าวัสดุ หมวดค่าตอบแทน เป็นต้น
สรุป
การดำเนินการวิจัย จำเป็นต้องมีปัจจัยในการดำเนินการเช่นเดียวกับการดำเนินการกิจกรรมอื่นๆ ประกอบด้วย ผู้ดำเนินการคือ คน(Man) การดำเนินการ (Management) วัสดุอุปกรณ์ (Materials) และเงิน (Money) การเขียนงบประมาณทีใช้ดำเนินการวิจัย จำเป็นต้องระบุแหล่ง เงินทุนอุดหนุนการวิจัย
การแบ่งหมวดค่าใช้จ่ายทำได้หลายวิธี ตัวอย่างหนึ่งของการแบ่งหมวด คือ แบ่งเป็น 8 หมวดใหญ่ๆ ได้แก่
12.1 เงินเดือนและค่าตอบแทนบุคลากร
12.2 ค่าใช้จ่ายสำหรับงานสนาม
12.3 ค่าใช้จ่ายสำนักงาน
12.4 ค่าครุภัณฑ์
12.5 ค่าประมวลผลข้อมูล
12.6 ค่าพิมพ์รายงาน
12.7 ค่าจัดประชุมวิชาการ เพื่อปรึกษาเรื่องการดำเนินงาน หรือเพื่อเสนอผลงานวิจัยเมื่อจบ
โครงการแล้ว
12.8 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
12.1 เงินเดือนและค่าตอบแทนบุคลากร
12.2 ค่าใช้จ่ายสำหรับงานสนาม
12.3 ค่าใช้จ่ายสำนักงาน
12.4 ค่าครุภัณฑ์
12.5 ค่าประมวลผลข้อมูล
12.6 ค่าพิมพ์รายงาน
12.7 ค่าจัดประชุมวิชาการ เพื่อปรึกษาเรื่องการดำเนินงาน หรือเพื่อเสนอผลงานวิจัยเมื่อจบ
โครงการแล้ว
12.8 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
ที่มา : http://blog.eduzones.com/jipatar/85921.[ออนไลน์]
เข้าถึงเมื่อ 5 ธันวาคม 2555.
เข้าถึงเมื่อ 5 ธันวาคม 2555.
www.vrdp.net/data/Download/6-8-53/10.pdf.[ออนไลน์]
เข้าถึงเมื่อ 5 ธันวาคม 2555.
เข้าถึงเมื่อ 5 ธันวาคม 2555.
http://e-book.ram.edu/e-book/m/MR393/chapter9.pdf.[ออนไลน์]
เข้าถึงเมื่อ 5 ธันวาคม 2555.
เข้าถึงเมื่อ 5 ธันวาคม 2555.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น