ธีรวุฒิ เอกะกุล (2549 : 97) ได้กล่าวไว้ว่า การระบุให้ทราบว่าการวิจัยที่จะศึกษามีขอบข่ายกว้างขวางเพียงใด เนื่องจากผู้วิจัยไม่สามารถทำการศึกษาได้ครบถ้วนทุกแง่ทุกมุมของปัญหานั้น จึงต้องกำหนดขอบเขตของการศึกษาให้แน่นอน ว่าจะครอบคลุมอะไรบ้าง ซึ่งอาจทำได้โดยการกำหนดขอบเขตของเรื่องให้แคบลงเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งของสาขาวิชา หรือกาหนดกลุ่มประชากร สถานที่วิจัย หรือระยะเวลา
http://blog.eduzones.com/jipatar/85921 ได้กล่าวไว้ว่า ขอบเขตของการวิจัยว่าเป็นการระบุให้ทราบว่าการวิจัยที่จะศึกษามีขอบข่ายกว้างขวางเพียงใด เนื่องจากผู้วิจัยไม่สามารถทำการศึกษาได้ครบถ้วนทุกแง่ทุกมุมของปัญหานั้น จึงต้องกำหนดขอบเขตของการศึกษาให้แน่นอน ว่าจะครอบคลุมอะไรบ้าง ซึ่งอาจทำได้โดยการกำหนดขอบเขตของเรื่องให้แคบลงเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งของสาขา วิชา หรือกำหนดกลุ่มประชากร สถานที่วิจัย หรือระยะเวลา
http://www.gotoknow.org/posts/399983? ได้กล่าวไว้ว่า การกำหนดขอบเขตของการวิจัย จะทำให้งานวิจัยมีความชัดเจน และเป็นไปตามวัตถุประสงค์การวิจัยที่ได้กำหนดเอาไว้ ซึ่งในส่วนของขอบเขตการวิจัยนั้น จะประกอบด้วย
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ซึ่ง ผู้วิจัยต้องระบุว่าประชากรเป็นใคร ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างจำนวนเท่าไร และกลุ่มตัวอย่างได้มาโดยวิธีใด
2. ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา ผู้วิจัยต้องระบุตัวแปรอิสระและตัวแปรตามที่ใช้ในการศึกษาทั้งหมด
สรุป
ขอบเขตของการวิจัย เป็นการระบุให้ทราบว่าการวิจัยที่จะศึกษามีขอบข่ายกว้างขวางเพียงใด การกำหนดขอบเขตของการวิจัย จะทำให้งานวิจัยมีความชัดเจน และเป็นไปตามวัตถุประสงค์การวิจัยที่ได้กำหนดเอาไว้ ซึ่งในส่วนของขอบเขตการวิจัยนั้น จะประกอบด้วย
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ซึ่ง ผู้วิจัยต้องระบุว่าประชากรเป็นใคร ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างจำนวนเท่าไร และกลุ่มตัวอย่างได้มาโดยวิธีใด
2. ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา ผู้วิจัยต้องระบุตัวแปรอิสระและตัวแปรตามที่ใช้ในการศึกษาทั้งหมด
ที่มา : ธีรวุฒิ เอกะกุล . (2549). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ . พิมพ์ครั้งที่ 4 .อุบลราชธานี : วิทยาออฟเซทการพิมพ์.
http://blog.eduzones.com/jipatar/85921.[ออนไลน์] เข้าถึงเมื่อ 2 ธันวาคม 2555.
http://www.gotoknow.org/posts/399983?.[ออนไลน์]
เข้าถึงเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2555.
เข้าถึงเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2555.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น